พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
-เหรียญหล่อเจ้า...
-เหรียญหล่อเจ้าสัว วัดกัลยาณมิตรฯ รุ่นเลื่อนสมณศักดิ์ เนื้อเงินผสมขี้นกเขาเปล้า (ห่วงเชื่อม) ปี 2558
-เจ้าสัวรุ่นนี้ จุดประสงค์ดี-มวลสารดี-พิธีใหญ่ ดังนี้
จุดประสงค์ดี คือ จัดสร้างเพื่อเป็นที่ระลึกที่ในหลวงทรงโปรดพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตร
มวลสารดี จากมวลสารที่เข้มขลัง 5 รายการ ตามรายละเอียดที่ลงไว้
พิธีใหญ่ ด้วยบทเจ็ดตำนานหรือพระคาถาเยสัตตศาลา ด้วยเกจิที่เข้มขลัง 8 ท่าน
-พิธีมหาพุทธาภิเษก ณ.พระอุโบสถวัดกัลยาณมิตรฯ ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 ด้วยการปลุกเสกจากพระเกจิชื่อดังหลายท่านร่วมพระพุทธมนต์ บทเจ็ดตำนานหรือพระคาถาเยสัตตศาลา ตามตำรับหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว ดังรายนามพระเกจิชื่อดังและสายตรงพระเจ้าสัว คือ
1.เจ้าคุณเที่ยง วัดระฆังโฆสิตาราม กทม.
2.หลวงพ่อคง วัดกลางบางแก้ว นครปฐม
3.หลวงพ่อพร วัดบางแก้ว นครปฐม
4.หลวงพ่ออวยพร วัดดอนยายหอม นครปฐม
5.หลวงพ่อมหาสุรศักดิ์ วัดประดู่พระอารามหลวง สมุทรสงคราม
6.หลวงพ่อเสงี่ยม วัดบ้านทวน กาญจนบุรี
7.หลวงพ่อตี๋ วัดหูช้าง นนทบุรี
8.หลวงพ่อย้อน วัดโตนดหลวง เพชรบุรี
-เจ้าสัว เจริญ และ คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี เป็นประธานเททองหล่อเหรียญพระเจ้าสัวรุ่นนี้ ในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 14.50 น. ณ.มลฑลพิธีข้างพระวิหารหลวง วัดกัลยาณมิตรฯ
ณ.สถานที่ที่เคยเททองหล่อ เหรียญเจ้าสัว รุ่นแรก ของหลวงปู่บุญ เมื่อ 84 ปีที่แล้ว
สุดยอดมวลสารพระเจ้าส้วรุ่นนี้ ประกอบด้วย
1.ชนวนก้านช่อพระชัย หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
2.ช่อพระเจ้าสัว วัดกลางบางแก้ว รุ่น3
3.ทองคำบางสะพาน จ.ประจวบฯ
4.ขี้นกเขาเปล้า ตามตำรับหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
5.เงินพดด้วงดวงตราประจำรัชกาลที่ 3 (สัญลักษณ์ความเป็นเจ้าสัว)
แต่ละเบ้าโลหะประกอบด้วย
1.แผ่นทองคำจารดวงประสูติ 1 แผ่น น้ำหนักทองคำ 8 กรัม
2.แผ่นทองคำจารดวงตรัสรู้ 1 แผ่น น้ำหนัก 8 กรัม
3.แผ่นพระยันต์มหาเศรษฐี น้ำหนักทองคำ 8 กรัม
4.แผ่นทองแดงลงยันต์ 108 พระยันต์ นะปถะมัง 14 นะ รวม 122 แผ่น
5.แผ่นพระยันต์จารอักขระ โดยพระมหาเถระที่เชี่ยวชาญในด้านวิปัสสนาสายหลวงปู่บุญ รวม 8 องค์ๆละ 1 แผ่น
ภาษาจีนด้านหลังของเจ้าสัวรุ่นนี้คือ
座山 จีนกลาง อ่านว่า “จั่วซัน”
-ถ้าแต้จิ้ว อ่านว่า “จ่อซัว” หมายถึง “เจ้าสัว” เพื่อเป็นมงคลและมั่งคั่ง ของผู้ที่ได้บูชาครอบครัว
-วัดกัลยาณมิตรฯ จึงถือว่าเป็น วัดเจ้าสัวโดยแท้จริง สืบเนื่องจากการสร้างเหรียญเจ้าสัวหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว รุ่นแรก ผู้ที่เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงสำคัญในการสร้างพระชุดนี้คือ พระวินัยกิจโกศล เจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตรในสมัยนั้น โดยทำพิธีเททองหล่อ ณ. วัดกัลยาณมิตรฯ ในปี 2474
******************************************************
“ผู้สร้างวัดและความสำคัญของ วัดกัลยาณมิตรมหาวรวิหาร”
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓
เจ้าพระยานิกรบดินทร (เจ้าสัวโต ต้นสกุลกัลยาณมิตร) ว่าที่สมุหนายก
ชื่อจีนว่า เต๋า แซ่อึ้ง เมื่อครั้งยังเป็นพระยาราชสุภาวดี เจ้ากรมพระสุรัสวดี
กลาง (ชื่อกรมในสมัยโบราณ มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการทำบัญชีไพร่พล
ตลอดจนการเกณฑ์ชายฉกรรจ์เข้ามาฝึกอาวุธและวิชาการรบ เพื่อเป็น
กำลังสำรองเวลาบ้านเมืองมีศึกสงคราม) ได้อุทิศที่บ้านและซื้อที่ดิน
บริเวณใกล้เคียงเพิ่มเติมเข้าด้วยกันเพื่อสร้างพระอาราม ที่ดินบริเวณ
ที่จะสร้างวัดกัลยาณมิตรนี้เดิมในสมัยกรุงศรีอยุธยาไม่มีดิน เป็นแม่น้ำ
ดอนขึ้น ครั้งกรุงธนบุรีเป็นที่จอดแพได้ ครั้นนานวันผันกลับดอนเป็นดิน
กลายเป็นที่ตั้งบ้านเรือนของพ่อค้าชาวจีนฮกเกี้ยนที่ได้รับพระราชทาน
ที่ดินจากพระมหากษัตริย์ไทย เช่น หลวงพิชัยวารี (เจ้าสัวมั่ง แซ่อึ้ง)
บิดาของเจ้าพระยานิกรบดินทร ชุมชนย่านนี้นอกจากชาวจีนแล้ว ยังเป็น
ที่อยู่อาศัยของทั้งชาวโปรตุเกส ชาวมุสลิม ชาวไทย และยังมีพระภิกษุจีน
พำนักอยู่ด้วย ชาวบ้านจึงเรียกย่านนี้ว่า ชุมชนกะดีจีน หรือกุฎีจีน
การก่อสร้างพระอารามเริ่มลงมือเมื่อปีระกา พ.ศ.๒๓๖๘ เป็น
ปีที่ ๒ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ แล้วถวายเป็นพระอารามหลวง พระบาท
สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า “วัด
กัลยาณมิตร” ใน พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓

ขี้นกเขาเปล้า คือ มูลที่นกเขาเปล้าถ่ายออกมา ส่วนนกเขาเปล้าพจนานุกรมได้ให้ความหมายว่า ชื่อนกชนิดหนึ่งจำพวกเดียวกับนกเขาและนกพิราบลำตัวสีเขียวแตเละชนิดแตกต่าง กันตรงสีที่หน้าอกและไหล่อาจมีสีม่วงหรือสีน้ำตาลกินผลไม้ บางที เรียก เปล้า ตามประวัติขี้นกเขาเปล้าที่หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้วนำมาสร้างพระเครื่องนั้นลูกศิษย์บอกว่าเป็นขี้ของนกกลางคืน ชนิดหนึ่งที่หาพบยาก ในทางไสยศาสตร์ถือว่าเป็นวัตถุอาถรรพณ์ชนิดหนึ่งที่นิยมนำมาสร้างวัตถุมงคล
นก เขาเปล้าหรือนกกลางคืนชนิดนี้ เมื่อเวลาจิกอาหารตามพื้นดิน หรือจะกินอาหารจากที่ไหนก็ตาม ในอาหารที่นกกินจะมีแร่ธาตุบางชนิดผสมอยู่ เมื่อนกถ่ายมูลหรือขี้ออกมาก็จะมีแร่ธาตุนี้ผสมมูลหรือขี้ออกมาด้วย เมื่อนำเอามูลหรือขี้นกเขาเปล้าไปเคี่ยวในกระทะ ความร้อนจะทำให้ส่วนประกอบของเศษอาหารอื่นๆเผาไหม้ไปหมด ส่วนที่เป็นแร่ธาตุเหลือตกตะกอนเอาไว้ ซึ่งจะเป็นโลหะประเภทตะกั่ว แล้วจึงนำเอาเนื้อตะกั่วที่เหลือนี้มาหลอมแล้วเทเป็นพระเครื่อง

ผู้เข้าชม
8951 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
ยังอยู่
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
ร้านค้า
-
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
tanetbty
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 057-1-47965-6

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
NongBosssakunchartเจริญสุขเปียโนvanglannaKumpang
พล ปากน้ำBungswattermboonfrank_tumchaithawat
Pumneeแมวดำ99พระเครื่องโคกมนchathanumaandigitalpluschaokoh
nattapong939sirachaErawanBAINGERNNithipornBoy114
เทพจิระบู๊ วีริชน้ำตาลแดงChatcentralpraramsamนิธิพัฒน์พลปลั๊ก ปทุมธานี

ผู้เข้าชมขณะนี้ 499 คน

เพิ่มข้อมูล

-เหรียญหล่อเจ้าสัว วัดกัลยาณมิตรฯ รุ่นเลื่อนสมณศักดิ์ เนื้อเงินผสมขี้นกเขาเปล้า (ห่วงเชื่อม) ปี 2558




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
-เหรียญหล่อเจ้าสัว วัดกัลยาณมิตรฯ รุ่นเลื่อนสมณศักดิ์ เนื้อเงินผสมขี้นกเขาเปล้า (ห่วงเชื่อม) ปี 2558
รายละเอียด
-เจ้าสัวรุ่นนี้ จุดประสงค์ดี-มวลสารดี-พิธีใหญ่ ดังนี้
จุดประสงค์ดี คือ จัดสร้างเพื่อเป็นที่ระลึกที่ในหลวงทรงโปรดพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตร
มวลสารดี จากมวลสารที่เข้มขลัง 5 รายการ ตามรายละเอียดที่ลงไว้
พิธีใหญ่ ด้วยบทเจ็ดตำนานหรือพระคาถาเยสัตตศาลา ด้วยเกจิที่เข้มขลัง 8 ท่าน
-พิธีมหาพุทธาภิเษก ณ.พระอุโบสถวัดกัลยาณมิตรฯ ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 ด้วยการปลุกเสกจากพระเกจิชื่อดังหลายท่านร่วมพระพุทธมนต์ บทเจ็ดตำนานหรือพระคาถาเยสัตตศาลา ตามตำรับหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว ดังรายนามพระเกจิชื่อดังและสายตรงพระเจ้าสัว คือ
1.เจ้าคุณเที่ยง วัดระฆังโฆสิตาราม กทม.
2.หลวงพ่อคง วัดกลางบางแก้ว นครปฐม
3.หลวงพ่อพร วัดบางแก้ว นครปฐม
4.หลวงพ่ออวยพร วัดดอนยายหอม นครปฐม
5.หลวงพ่อมหาสุรศักดิ์ วัดประดู่พระอารามหลวง สมุทรสงคราม
6.หลวงพ่อเสงี่ยม วัดบ้านทวน กาญจนบุรี
7.หลวงพ่อตี๋ วัดหูช้าง นนทบุรี
8.หลวงพ่อย้อน วัดโตนดหลวง เพชรบุรี
-เจ้าสัว เจริญ และ คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี เป็นประธานเททองหล่อเหรียญพระเจ้าสัวรุ่นนี้ ในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 14.50 น. ณ.มลฑลพิธีข้างพระวิหารหลวง วัดกัลยาณมิตรฯ
ณ.สถานที่ที่เคยเททองหล่อ เหรียญเจ้าสัว รุ่นแรก ของหลวงปู่บุญ เมื่อ 84 ปีที่แล้ว
สุดยอดมวลสารพระเจ้าส้วรุ่นนี้ ประกอบด้วย
1.ชนวนก้านช่อพระชัย หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
2.ช่อพระเจ้าสัว วัดกลางบางแก้ว รุ่น3
3.ทองคำบางสะพาน จ.ประจวบฯ
4.ขี้นกเขาเปล้า ตามตำรับหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
5.เงินพดด้วงดวงตราประจำรัชกาลที่ 3 (สัญลักษณ์ความเป็นเจ้าสัว)
แต่ละเบ้าโลหะประกอบด้วย
1.แผ่นทองคำจารดวงประสูติ 1 แผ่น น้ำหนักทองคำ 8 กรัม
2.แผ่นทองคำจารดวงตรัสรู้ 1 แผ่น น้ำหนัก 8 กรัม
3.แผ่นพระยันต์มหาเศรษฐี น้ำหนักทองคำ 8 กรัม
4.แผ่นทองแดงลงยันต์ 108 พระยันต์ นะปถะมัง 14 นะ รวม 122 แผ่น
5.แผ่นพระยันต์จารอักขระ โดยพระมหาเถระที่เชี่ยวชาญในด้านวิปัสสนาสายหลวงปู่บุญ รวม 8 องค์ๆละ 1 แผ่น
ภาษาจีนด้านหลังของเจ้าสัวรุ่นนี้คือ
座山 จีนกลาง อ่านว่า “จั่วซัน”
-ถ้าแต้จิ้ว อ่านว่า “จ่อซัว” หมายถึง “เจ้าสัว” เพื่อเป็นมงคลและมั่งคั่ง ของผู้ที่ได้บูชาครอบครัว
-วัดกัลยาณมิตรฯ จึงถือว่าเป็น วัดเจ้าสัวโดยแท้จริง สืบเนื่องจากการสร้างเหรียญเจ้าสัวหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว รุ่นแรก ผู้ที่เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงสำคัญในการสร้างพระชุดนี้คือ พระวินัยกิจโกศล เจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตรในสมัยนั้น โดยทำพิธีเททองหล่อ ณ. วัดกัลยาณมิตรฯ ในปี 2474
******************************************************
“ผู้สร้างวัดและความสำคัญของ วัดกัลยาณมิตรมหาวรวิหาร”
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓
เจ้าพระยานิกรบดินทร (เจ้าสัวโต ต้นสกุลกัลยาณมิตร) ว่าที่สมุหนายก
ชื่อจีนว่า เต๋า แซ่อึ้ง เมื่อครั้งยังเป็นพระยาราชสุภาวดี เจ้ากรมพระสุรัสวดี
กลาง (ชื่อกรมในสมัยโบราณ มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการทำบัญชีไพร่พล
ตลอดจนการเกณฑ์ชายฉกรรจ์เข้ามาฝึกอาวุธและวิชาการรบ เพื่อเป็น
กำลังสำรองเวลาบ้านเมืองมีศึกสงคราม) ได้อุทิศที่บ้านและซื้อที่ดิน
บริเวณใกล้เคียงเพิ่มเติมเข้าด้วยกันเพื่อสร้างพระอาราม ที่ดินบริเวณ
ที่จะสร้างวัดกัลยาณมิตรนี้เดิมในสมัยกรุงศรีอยุธยาไม่มีดิน เป็นแม่น้ำ
ดอนขึ้น ครั้งกรุงธนบุรีเป็นที่จอดแพได้ ครั้นนานวันผันกลับดอนเป็นดิน
กลายเป็นที่ตั้งบ้านเรือนของพ่อค้าชาวจีนฮกเกี้ยนที่ได้รับพระราชทาน
ที่ดินจากพระมหากษัตริย์ไทย เช่น หลวงพิชัยวารี (เจ้าสัวมั่ง แซ่อึ้ง)
บิดาของเจ้าพระยานิกรบดินทร ชุมชนย่านนี้นอกจากชาวจีนแล้ว ยังเป็น
ที่อยู่อาศัยของทั้งชาวโปรตุเกส ชาวมุสลิม ชาวไทย และยังมีพระภิกษุจีน
พำนักอยู่ด้วย ชาวบ้านจึงเรียกย่านนี้ว่า ชุมชนกะดีจีน หรือกุฎีจีน
การก่อสร้างพระอารามเริ่มลงมือเมื่อปีระกา พ.ศ.๒๓๖๘ เป็น
ปีที่ ๒ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ แล้วถวายเป็นพระอารามหลวง พระบาท
สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า “วัด
กัลยาณมิตร” ใน พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓

ขี้นกเขาเปล้า คือ มูลที่นกเขาเปล้าถ่ายออกมา ส่วนนกเขาเปล้าพจนานุกรมได้ให้ความหมายว่า ชื่อนกชนิดหนึ่งจำพวกเดียวกับนกเขาและนกพิราบลำตัวสีเขียวแตเละชนิดแตกต่าง กันตรงสีที่หน้าอกและไหล่อาจมีสีม่วงหรือสีน้ำตาลกินผลไม้ บางที เรียก เปล้า ตามประวัติขี้นกเขาเปล้าที่หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้วนำมาสร้างพระเครื่องนั้นลูกศิษย์บอกว่าเป็นขี้ของนกกลางคืน ชนิดหนึ่งที่หาพบยาก ในทางไสยศาสตร์ถือว่าเป็นวัตถุอาถรรพณ์ชนิดหนึ่งที่นิยมนำมาสร้างวัตถุมงคล
นก เขาเปล้าหรือนกกลางคืนชนิดนี้ เมื่อเวลาจิกอาหารตามพื้นดิน หรือจะกินอาหารจากที่ไหนก็ตาม ในอาหารที่นกกินจะมีแร่ธาตุบางชนิดผสมอยู่ เมื่อนกถ่ายมูลหรือขี้ออกมาก็จะมีแร่ธาตุนี้ผสมมูลหรือขี้ออกมาด้วย เมื่อนำเอามูลหรือขี้นกเขาเปล้าไปเคี่ยวในกระทะ ความร้อนจะทำให้ส่วนประกอบของเศษอาหารอื่นๆเผาไหม้ไปหมด ส่วนที่เป็นแร่ธาตุเหลือตกตะกอนเอาไว้ ซึ่งจะเป็นโลหะประเภทตะกั่ว แล้วจึงนำเอาเนื้อตะกั่วที่เหลือนี้มาหลอมแล้วเทเป็นพระเครื่อง

ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
8988 ครั้ง
สถานะ
ยังอยู่
โดย
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
URL
-
เบอร์โทรศัพท์
0894483434
ID LINE
tanetbty
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
2. ธนาคารกสิกรไทย / 057-1-47965-6




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี